สภาวะโลกร้อน
ตั้งแต่ต้นปีพุทธศักราช 2550 เป็นต้นมา มีกระแสข่าวเหตุการณ์เกี่ยวกับปัญหาโลกร้อนหรือสภาวะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกออกมาสู่สาธารณะไม่เว้นแต่ละวัน เหตุการณ์ดังกล่าวได้สร้างความสูญเสียต่อชีวิตและความเสียหายต่อทรัพย์สินเป็นจำนวนมหาศาล นานาอารยะประเทศทั้งหลายต่างรณรงค์เรียกร้องให้ประชาชนร่วมมือช่วยกันลดปริมาณปลดปล่อยระบายก๊าซเรือนกระจกออกสู่ชั้นบรรยากาศ ในขณะเดียวกัน ประเทศไทยยังถูกกล่าวหาว่าเป็นตัวการหนึ่งของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการทำนาข้าวอีกด้วย ทั้งๆ ที่การทำนาข้าวถือว่าเป็นกิจกรรมสำคัญของประเทศเพื่อผลิตอาหารสำหรับการดำรงชีพของประชาชนชาวไทย และเพื่อการส่งออกไปขายต่างประเทศ นอกจากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศแล้ว ประเทศไทยยังเผชิญกับปัญหาของการลดลงของทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกนำมาใช้เพื่อรองรับการดำรงชีพของประชากร ซึ่งมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง และในขณะเดียวกันชุมชนในเขตเมืองก็ประสบปัญหาสิ่งแวดล้อมจากมลพิษต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมของประชากรในเขตเมืองนั่นเอง ปัญหาสิ่งแวดล้อมยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นเมื่อสังคมชนบทเปลี่ยนมาเป็นสังคมเมือง อันเป็นผลให้ความหนาแน่นของประชากรเมืองมากขึ้น มีการเผาผลาญทรัพยากรและพลังงาน ตลอดจนระบายทิ้งของเสียออกมาเป็นจำนวนมากด้วย
ผู้จัดทำ :
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จงจินต์ ผลประเสริฐ
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
Tags :
ภาวะโลกร้อน
08/10/2555 |
16:16:05 |
รายละเอียดไฟล์ |
เปิดด้วยโปรแกรม |
Download Count |
Save |
6.pdf (0.10Mb) |
Acrobat Reader, Foxit Reader |
14 |
|
PRTR : อีกหนึ่งเครื่องมือในการจัดการและควบคุมปัญหามลพิษ
PRTR : A Tool for Managing and Controlling the Pollution Problem
ทำเนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ (Pollutant Release and Transfer Registration : PRTR) เป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการบริหารจัดการเพื่อให้เกิดการลดการระบายสารเคมีและมลพิษ ผ่านกระบวนการควบคุมแหล่งกำเนิดภายใต้การดำเนินงานตามความสมัครใจ การดำเนินงานถูกพัฒนาโดยอาศัยหลักแนวคิด Public rights to know โดยการรายงานข้อมูลปริมาณการระบายสารมลพิษจากแหล่งกำเนิดประเภทต่างๆ ทั้งในส่วนของแหล่งกำเนิดประเภทอุตสาหกรรม และแหล่งกำเนิดประเภทอื่นๆ เช่น การระบายจากยานพาหนะ ภาคเกษตรกรรม ครัวเรือน เป็นต้นไป ในพื้นที่ต่างๆ โดยพัฒนาการรายงานข้อมูลดังกล่าวให้ข้อมูลสาธารณะ อันจะก่อให้เกิดความพยายามในการลดการระบายสารมลพิษของโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อสร้างภาพลักษณ์ในการเป็นโรงงานที่มีความตระหนักและห่วงใยในปัญหาสิ่งแวดล้อม ในขณะที่ภาครัฐสามารถใช้ข้อมูลดังกล่าวเป็นเครื่่องมือในการบริหารจัดการและควบคุมการระบายมลพอษได้ตรงกิจกรรมที่เป็นแหล่งระบายสารมลพิษทั้งในระดับพื้นที่และในระดับภาพรวมของประเทศ อันจะช่วยสนับสนุนให้สามารถดำเนินการกำหนดนโยบายที่เหมาะสมในการบริหารจัดการและควบคุมการระบายสารมลพิษที่เหมาะสมภายใต้ความร่วมมือของทุกภาคส่วนอันจะก่อให้เกิดกิจกรรมการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต
ผู้จัดทำ :
อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สราวุธ เทพานนท์
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
Tags :
การลดการระบายโดยความสมัครใจ, การประเมินการระบาย, พีอาร์ทีอาร์, การเคลื่อนย้ายสารมลพิษ, การปลดปล่อยสารมลพิษ
10/03/2558 |
11:35:21 |
รายละเอียดไฟล์ |
เปิดด้วยโปรแกรม |
Download Count |
Save |
PRTR_.pdf (1.49Mb) |
Acrobat Reader, Foxit Reader |
4 |
|
การพัฒนา Emission Factor ของสารมลพิษทางอากาศและก๊าซเรือนกระจกที่ระบายจากยานพาหนะเพื่อการกำหนดนโยบายและมาตรการ การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมในภาคขนส่งของประเทศไทย
Development of emission factors for air pollutants and greenhouse gases from vehicle for establishment of appropriate mitigation policy and measures in the transportation sector in Thailand
ปัญหามลพิษทางอากาศเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีความสาคัญและจัดเป็นปัญหาสาธารณะที่ต้องมีการดำเนินการเพื่อการควบคุมแก้ไข และการวางแผนบริหารจัดการที่เหมาะสมอย่างเร่งด่วน ข้อมูลจากสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาแห่งประเทศไทย ซึ่งได้ดาเนินการศึกษาโครงการจัดลาดับความสาคัญของปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเสียหายของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในรูปมูลค่าหรือตัวเงินเพื่อนาไปสู่การจัดลาดับความสาคัญของปัญหาของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผลการศึกษาพบว่ามลพิษทางอากาศเป็นปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมที่มีความรุนแรงสูงที่สุดในบรรดาปัญหามลพิษทั้งหมด ทั้งนี้การศึกษาได้ประเมินต้นทุนมลพิษทางอากาศจากต้นทุนสุขภาพของผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจในเขตเมืองทั้งหมด 21 จังหวัด โดยพิจารณาจากจังหวัดที่มีจานวนประชากรในเขตเทศบาลเกิน 100,000 คน จานวน 12 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพฯ เชียงใหม่ นครราชสีมา อุบลราชธานี ขอนแก่น อุดรธานีนนทบุรี สมุทรปราการ ชลบุรี นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี และสงขลาและเพิ่มเติมจังหวัดที่มีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษซึ่งแสดงถึงการต้องเฝ้าระวังคุณภาพอากาศในบริเวณดังกล่าวจานวน 9 จังหวัด ซึ่งได้แก่ลาปาง นครสวรรค์ สระบุรี ปทุมธานี ระยอง นครปฐม สมุทรสาคร ราชบุรี และภูเก็ต พบว่ามูลค่าความเสียหายด้านสุขภาพจากปัญหามลพิษทางอากาศมีค่าเฉลี่ยกับ 5,866 ล้านบาทต่อปี (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาแห่งประเทศไทย, 2549) ข้อมูลดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงความสาคัญในการวางแผนและกาหนดมาตรการที่เหมาะสมในการแก้ปัญหามลพิษทางอากาศของประเทศ
ผู้จัดทำ :
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สราวุธ เทพานนท์, อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
Tags :
Emission Factor
10/04/2558 |
14:40:25 |
รายละเอียดไฟล์ |
เปิดด้วยโปรแกรม |
Download Count |
Save |
_170.pdf (6.89Mb) |
Acrobat Reader, Foxit Reader |
6 |
|
air soil and water research
air soil and water research
ABSTRACT: Dynamic emission factors of air toxic compounds, emitted from vehicles in Bangkok, Thailand, are developed using the IVE model.
The model takes into account the actual fleet and characteristics of vehicles in the study area. It is found that the calculated emission factors are greatly
influenced by vehicle emission control policy. Approximately 2000 tons of benzene emission per year is reduced by the changing of fuel quality from
Euro 2 to Euro 4 standards. As for mitigation measures, introduction of gasohol and natural gas as alternative fuels, as well as encouraging the
utilization of public transportation systems, are analyzed. The outcomes reveal that a combined scenario using 100% gasohol plus decreasing vehicle
kilometers traveled (VKT) by 20% is the most effective in reduction of benzene emission. In addition, 1,3-butadiene, acetaldehyde and formaldehyde
emissions are greatly decreased by the combined scenario of using compressed natural gas (CNG) plus decreasing VKT by 20%.
ผู้จัดทำ :
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สราวุธ เทพานนท์, อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
Tags :
air toxic, IVE, Emission Factor, mobile source, Bangkok
10/04/2558 |
14:40:37 |
Characterization of precursors to trihalomethanes formation in Bangkok source water
Characterization of precursors to trihalomethanes formation in Bangkok source water
Resin adsorption techniques using three types of resin (DAX-8, AG-MP-50, andWA-10) were employed to characterize the raw water (RW)
from the major 3 million m3/day (793 million gal/day) drinking water treatment plant in Bangkok, Thailand. The dissolved organic carbon
(DOC) mass distribution sequences of the six organic fractions in raw water, from high to low, were hydrophilic neutral (HPIN), hydrophobic
acid (HPOA), hydrophilic acid (HPIA), hydrophobic neutral (HPON), hydrophilic base (HPIB), and hydrophobic base (HPOB). HPIN and
HPOA were the two main precursors for trihalomethanes formation (THMFP) in this water source following chlorination. The chlorination
of HPON and HPIN fractions only led to the formation of mostly chloroform, while other organic fractions formed both chloroform and
bromodichloromethane. The linear dependency between each organic fraction concentration and THMFP indicated that the reactions of each
organic fraction with chlorine were first-order.
ผู้จัดทำ :
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุณยฤทธิ์ ปัญญาภิญโญผล, อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
Tags :
THMFP; Disinfection by-products; Organic matter; Surface water; Fractionation
10/04/2558 |
14:39:11 |
Used lubricating oil management options based on life cycle thinking
Used lubricating oil management options based on life cycle thinking
Used lubricating oil (ULO) is among those difficult-to-handle anthropogenic pollutants due to its toxicity
and handling difficulty. The selection of proper abatement technologies for ULO depends significantly on
the appropriateness of the technology not only in technical terms, but also in environmental points of
view. In the presentwork, six management scenarios for the management of ULOwere evaluated for their
environmental impacts based on life cycle approach. Two of them, i.e. acid clay and solvent extraction are
the treatment processes for the recovery of ULO and the main product from these processes is recycled
used oil. The other four scenarios, i.e. small boiler, vaporizing burner boiler, atomizing burner boiler, and
cement kiln, are to generate energy from ULO. Emissions were characterized into four environmental
impact categories: global warming potential, acidification potential, eutrophication potential, and heavy
metals. The acid clay process, which has generally been believed to generate high environmental load,
actually produced high environmental impact only in terms of acidification. Cement kiln created the
lowest impact in terms of global warming potential and heavy metals. This was due to high temperature
in cement kiln which could rightly allowthe complete combustion of organic compounds in ULO whereas
other contaminants such as heavy metals were captured in mortar during the cement reaction.
ผู้จัดทำ :
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุณยฤทธิ์ ปัญญาภิญโญผล, อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
Tags :
Energy recovery, Oil recovery, Waste management, Environment
23/04/2558 |
14:39:32 |
กรณีศึกษา : โครงการการส่งเสริมสุขภาพความปลอดภัยในการใช้สารเคมี และการจัดการของเสียอันตรายในคณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงการการส่งเสริมสุขภาพความปลอดภัยในการใช้สารเคมี และการจัดการของเสียอันตรายในคณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล
ผู้จัดทำ :
นภัทร อังกุรรัชต์, อัญชลี สมงาม, ไชยนันต์ แท่งทอง, ประเสริฐ ภวสันต์, บุณยฤทธิ์ ปัญญาภิญโญผล, สรา อาภรณ์, ศิราณี ศรีใส
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
Tags :
การจัดการของเสียอันตราย, การใช้สารเคมี
25/09/2558 |
10:25:57 |
รายละเอียดไฟล์ |
เปิดด้วยโปรแกรม |
Download Count |
Save |
___11.pdf (0.72Mb) |
Acrobat Reader, Foxit Reader |
19 |
|
A choice between RBD (refined, bleached, and deodorized) palm olein and palm methyl ester productions from carbon movement categorization
A choice between RBD (refined, bleached, and deodorized) palm olein and palm methyl ester productions from carbon movement categorization
The purpose of this study was to evaluate the full-chain carbon cycle of oil palm to determine the CE
(carbon equivalences), starting from plantation until production of end-user products including RBD
(refined, bleached, and deodorized) Palm Olein as a cooking oil and PME (palm methyl ester) as biodiesel
fuel. Based on the carbon categorization, the equivalent carbon emissions from RBD Palm Olein and PME
productions were found to be 159 and 153 kg CE/ton product, respectively. The major emissions in the
RBD Palm Olein production chain are attributed to the use of natural gas for energy spent in the industrial
process and Poly Ethylene Terephthalate for product containers; whereas, those in the PME
production are from methanol used in the transesterification. After identification of the carbon pathway,
RBD Palm Olein exhibited a net emission of 116 kg CE/ha-y, but PME shows a net reduction of 2328 kg CE/
ha-y. From energy balances and economic performances, PME is found to have higher net energy ratio,
with 40% lower production cost per kg CE, than does RBD Palm Olein. Therefore, increasing the use of
palm oil for biodiesel production rather than as use for cooking oil is justified as a useful tool for climate
change mitigation.
ผู้จัดทำ :
Chongchin Polprasert, Withida Patthanaissaranukool, Andrew J. Englande
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
Tags :
Carbon balance, Carbon emission RBD (refined, bleached, and deodorized), palm olein, Palm Methyl Ester, Net energy ratio
29/09/2558 |
16:21:30 |
Performance Evaluation of AERMOD and CALPUFF Air Dispersion Models in Industrial Complex Area
Performance Evaluation of AERMOD and CALPUFF Air Dispersion Models in Industrial Complex Area
ABSTRACT: AERMOD and CALPUFF air dispersion models were evaluated for their performance in predicting nitrogen dioxide (NO2) and sulfur
dioxide (SO2) in Maptaphut industrial area in Thailand. Emission data were obtained from 292 point sources in the study domain. Modeled results were
compared with those measured data from 10 receptor sites. Evaluation of model performance was carried out by using statistical analysis. Overall results
revealed that AERMOD provided more accurate results than CALPUFF model for both NO2 and SO2 predictions. As for the highest value, results from
robust highest concentration analysis indicated that AERMOD had better performance in predicting extreme high-end concentration than CALPUFF.
ผู้จัดทำ :
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สราวุธ เทพานนท์, อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
Tags :
AERMOD, CALPUFF, air dispersion, Maptaphut
01/02/2559 |
11:06:05 |
Analysis of Industrial Source Contribution to Ambient Air Concentration Using AERMOD Dispersion Model
Analysis of Industrial Source Contribution to Ambient Air Concentration Using AERMOD Dispersion Model
Contribution of each type of industrial group to ambient concentration of SO2 and NO2 in Maptaphut industrial area, Thailand was evaluated in the study. AERMOD dispersion model was used to simulate for the maximum 1-hr and annual average concentration within modelling domain in the year 2013. Industrial emission sources were grouped into 5 types namely 1) Gas separation plant, 2) Metal, 3) Petrochemical industry, 4) Power plant and 5) Refinery, respectively. Totally, 422 stack sources were used as input data in this analysis. Results revealed that the maximum 1-hr average ground level concentrations of SO2 and NO2 were dominated by contributions from power plant group. Maximum annual average
concentrations of these pollutants were mainly from Petrochemical industry group emissions. Therefore, controlling of SO2 emission from Power plant group and NOx emission from Petrochemical industry group should be given priority for appropriate controlling and management of these air pollutants in this industrial area.
ผู้จัดทำ :
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สราวุธ เทพานนท์, อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
Tags :
AERMOD; Maptaphut industry; nitrogen dioxide; sulfur dioxide
01/02/2559 |
11:08:57 |