Factors Related to Survival of Oral Cavity Cancer Patients Treated at National Cancer Institute, Thailand
Factors Related to Survival of Oral Cavity Cancer Patients Treated at National Cancer Institute, Thailand
นำเสนอผลงานวิชาการนักศึกษาหลักสูตร วท.ม.โรคติดเชื้อและวิทยาการระบาด (แขนงระบาดวิทยา)
ผู้จัดทำ :
Krittika Boonmark* Nopporn Howteerakul* Somjin Chindavijak **
Nawarat Suwannapong* Dusit Sujirarat*
หน่วยงาน :
ภาควิชาระบาดวิทยา
Tags :
abstract วิทยานิพนธ์นักศึกษาหลักสูตร วท.ม.โรคติดเชื้อและวิทยาการระบาด (แขนงระบาดวิทยา)
04/03/2557 |
12:56:29 |
การทดสอบความแม่นยำของแบบประเมินความเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ
การทดสอบความแม่นยำของแบบประเมินความเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ
นำเสนอผลงานวิชาการ นักศึกษาหลักสูตร วท.ม.โรคติดเชื้อและวิทยาการระบาด (แขนงระบาดวิทยา)
ผู้จัดทำ :
พัฒนาพร สุปินะ, กิติพงษ์ หาญเจริญ, สุคนธา ศิริ, อดิศักดิ์ มณีไสย
หน่วยงาน :
ภาควิชาระบาดวิทยา
Tags :
นักศึกษาหลักสูตร วท.ม.โรคติดเชื้อและวิทยาการระบาด (แขนงระบาดวิทยา)
04/03/2557 |
13:00:23 |
Community participation of cross-border migrants for primary health care in Thailand. Health Policy and Planning
Community participation of cross-border migrants for primary health care in Thailand. Health Policy and Planning
Community participation, cross-border migrant health volunteer, Thailan
ผู้จัดทำ :
Supakit Sirilak, 1 Kamolnetr Okanurak, 2* Yupaporn Wattanagoon, 3 Surut Chatchaiyalerk, 1
Songpol Tornee4 and Sukhontha Siri5
หน่วยงาน :
ภาควิชาระบาดวิทยา
Tags :
Community participation, cross-border migrant health volunteer, Thailan
04/04/2557 |
12:04:36 |
ผลของอุณหภูมิและชนิดของสารเคมีกระตุ้นต่อการดูดซับไอโอดีนของถ่านกัมมันต์ที่เตรียมจากเปลือกมังคุด
ของเสียทางการเกษตรถูกนำมาใช้สำหรับผลิตเป็นวัสดุดูดซับ เนื่องจากมีราคาต่ำและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มังคุดเป็นผลไม้ที่ได้รับความนิยมอย่างสูง พบว่าทุกๆ 10 กิโลกรัมของมังคุดสดจะเป็นเปลือกมากถึง 6 กิโลกรัม เปลือกของมังคุดเป็นของเสียทางการเกษตรที่ถูกทิ้งอย่างไร้ประโยชน์ ดังนั้นเปลือกมังคุดจึงเป็นที่น่าสนใจสำหรับนำมาผลิตเป็นวัสดุดูดซับ การศึกษานี้เป็นการทดลองแบบแฟคทอเรียล 4*3 มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะเตรียมวัสดุดูดซับจากเปลือกมังคุดโดยการกระตุ้นทางเคมีด้วย ซิงค์คลอไรด์ กรดฟอสฟอริก และโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ร่วมกับอุณหภูมิกระตุ้นที่ระดับ 400ํc,500ํC,600ํc และ 700ํc เพื่อศึกษาผลของชนิดสารเคมีและอุณหภูมิในการกระตุ้นต่อประสิทธิภาพของวัสดุดูดซับจากเปลือกมังคุดด้วยค่าการดูดซับไอโอดีน จากวิธีมาตรฐาน ASTM D4607-9
ผู้จัดทำ :
ชัชวาล สิงหกันต์, ธวัช เพชรไทย, พิศิษฐ์ วัฒนสมบูรณ์, ทราย ไชยวัง
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
Tags :
เปลือกมังคุด, ถ่านกัมมันต์, การดูดซับไอโอดีน, อุณหภูมิกระตุ้น, สารเคมีกระตุ้น
26/03/2557 |
11:37:33 |
การกำจัดบิสฟีนอลเอและการสร้างโพลีแซคคาร์ไรด์จากสาหร่าย Rivularia sp.
ผู้จัดทำ :
ไพทิพย์ ธีรเวชญาณ, อลิสา วังใน, ดวงรัตน์ อินทร, สุดารัตน์ นพขุนทด
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
Tags :
,
21/03/2555 |
11:49:27 |
ความเข้มข้นของอะลูมิเนียมตกค้างในน้ำประปาหมู่บ้านในพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี
งานวิจัยสำรวจพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้มข้นของอะลูมิเนียมตกค้างในน้ำประปาหมู่บ้านในพื้นที่
จังหวัดปราจีนบุรีโดยทำการศึกษาประปาหมู่บ้านที่ใช้น้ำผิวดินจากแม่น้ำปราจีนบุรีเป็นน้ำดิบในการผลิตจำนวน 18 หมู่บ้านในพื้นที่อำเภอกบินทร์บุรีอำเภอประจันตคาม อำเภอศรีมหาโพธิ และอำเภอบ้านสร้าง โดยทำการวิเคราะห์ปริมาณ
อะลูมิเนียม (Total aluminium; mg/L) ค่าความขุ่น (Turbidity ; NTU) ค่าสภาพความเป็นด่างรวม (Total alkalinity; as CaCO3) และ ค่าความเป็นกรดด่าง (pH) ในตัวอย่างน้ำดิบก่อนเข้าระบบประปาและตัวอย่างน้ำประปาที่ผ่านการปรับปรุงคุณภาพแล้วจากทั้ง 18 แห่ง โดยผลจากการศึกษาครั้งนี้พบว่าปริมาณอะลูมิเนียมในน้ำดิบก่อนเข้าระบบมีค่าอยู่ในช่วง 0.10 – 2.94 mg/Lในขณะที่ปริมาณอะลูมิเนียมในน้ำประปาที่ผ่านการปรับปรุงคุณภาพมีค่าในช่วง 0.40 – 3.78 mg/L ซึ่งเป็นค่าที่เกินจากคำแนะนำในน้ำดื่มขององค์การอนามัยโลก (0.20 mg/L) และยังพบว่าน้ำประปาจาก 12 หมู่บ้านมีความความขุ่นอยู่ในเกณฑ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ตามประกาศกรมอนามัย พ.ศ. 2553 คือไม่เกิน 5 NTU สำหรับค่าสภาพความเป็นด่างรวมของน้ำดิบอยู่ในช่วง 32 – 68 mg/L as CaCO3 และมีค่าลดลงเหลือประมาณ 16 – 40 mg/L as CaCO3 หลังจากการเติมสารส้ม ค่าความเป็นกรดด่างส่วนใหญ่ของแม่น้ำปราจีนบุรีมีค่าเท่ากับ 6.7 และในน้ำประปาที่ผ่านการปรับปรุงคุณภาพแล้วมีค่าอยู่ในช่วง6.4 – 7.1 โดยการวิจัยนี้พบว่ามี4 หมู่บ้านที่ไม่มีการเติมสารส้มลงในระบบฯ และ 2 หมู่บ้านจาก 4 หมู่บ้านดังกล่าวมีความขุ่นอยู่ในเกณฑ์คุณภาพต่ำกว่า 5 NTU และมีการตกค้างของอะลูมิเนียมในน้ำดิบลดลง ดังนั้นผู้ควบคุมระบบควรมีการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำดิบก่อนเพื่อหาความขุ่น ค่าสภาพด่าง ค่าความเป็นกรดด่างและปริมาณสารเคมีที่เหมาะสมในการ
ตกตะกอนและคุณภาพน้ำหลังการปรับปรุงให้เป็นไปตามหลักวิชาการ ตลอดจนการหมั่นล้างหน้าทรายกรองเพื่อช่วยลด
ปริมาณการตกค้างของอะลูมิเนียมในน้ำประปาร่วมด้วยอีกทางหนึ่ง
ผู้จัดทำ :
พัชรพรรณ กอรค็อฟสกี้, พิศิษฐ์ วัฒนสมบูรณ์, ชัชวาล สิงหกันต์, ธวัช เพชรไทย
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
Tags :
น้ำประปาหมู่บ้าน ระบบประปาหมู่บ้าน อะลูมิเนียมตกค้าง ความขุ่น
24/10/2556 |
17:08:23 |
รายละเอียดไฟล์ |
เปิดด้วยโปรแกรม |
Download Count |
Save |
258.pdf (0.20Mb) |
Acrobat Reader, Foxit Reader |
6 |
|
ประสิทธิภาพการกำจัดสารหนูโดยถ่านกะลาและขี้เถ้าแกลบ
REMOVAL EFFICIENCY OF ARSENIC (III) BY COCONUT SHELL CHAR AND RICE HUSK ASH
ผู้จัดทำ :
ธฤต ม่วงพลับ, สุเทพ ศิลปานันทกุล, ธนาศรี สีหะบุตร, พิศิษฐ์ วัฒนสมบูรณ์, วงเดือน ปั้นดี
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
Tags :
-
24/10/2556 |
17:17:50 |
การกำจัดบิสฟีนอล เอ โดยใช้สาหร่าย Hapalosihon hibernicus และ Nostoc punctiforme ที่ตรึงในอัลจิเนต
ผู้จัดทำ :
ดวงรัตน์ อินทร, ภัทรนิษฐ์ เชียงเหงียม, อลิสา วังใน, เชต ใจกัลยา
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
Tags :
บิสฟีนอล เอ, สาหร่าย, อัลจิเนต, การตรึงเซลล์
27/03/2557 |
17:24:20 |
รายละเอียดไฟล์ |
เปิดด้วยโปรแกรม |
Download Count |
Save |
ผลของวัสดุปรับปรุงดินและจุลินทรีย์ที่มีต่อการดูดซึมสารหนูไปยังต้นข้าวที่ปลูกในดินปนเปื้อนสารหนู
ผู้จัดทำ :
ดวงรัตน์ อินทร, ธิติมา คูณสม, ไพทิพย์ ธีรเวชญาณ, ศิราณี ศรีใส
หน่วยงาน :
ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
Tags :
arsenic, kaolin, stabilization, rice plant, accumulation
27/03/2557 |
17:29:33 |
รายละเอียดไฟล์ |
เปิดด้วยโปรแกรม |
Download Count |
Save |
รายงานการพยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ: แนวโน้มการบริโภคยาสูบของประชากรไทย
ผู้จัดทำ :
อาจารย์ ดร.ศรัณญา เบญจกุล
หน่วยงาน :
ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Tags :
พยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ, การบริโภคยาสูบ
18/04/2557 |
10:41:20 |