Personel Profile

นางสาว อุษา เล็กอุทัย     อยู่

English Name Assoc. Prof. Dr. USA LEK-UTHAI
กลุ่มบุคลากร พนักงานมหาวิทยาลัย
กลุ่มย่อยบุคลากร สายวิชาการ
ตำแหน่งงาน รองศาสตราจารย์
ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์
ตำแหน่งด้านบริหารงาน ไม่มี
อีเมล usa.lek@mahidol.ac.th
ส่วนงาน ภาควิชาปรสิตวิทยาและกีฏวิทยา
เบอร์สายตรง 0 2644 5130
เบอร์ภายใน 1207
ข้อมูลการศึกษา
วุฒิการศึกษา สาขา สถาบัน
ปริญญาตรี พย.บ. พยาบาลและผดุงครรภ์ชั้นสูง วิทยาลัยพยาบาลพุทธชินราช, ไทย
ปริญญาตรี คห.บ. พัฒนาการเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ไทย
ปริญญาโท วท.ม.(สาธารณสุขศาสตร์) โรคติดเชื้อ มหาวิทยาลัยมหิดล, ไทย
ปริญญาเอก สาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต บริหารสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล, ไทย
ประสบการณ์การอบรม

1. Cert. of attendance, Biosafety Guidelines for work related to modern biotechnology or genetic engineering (Intensive course)

2. Cert . in? EuPathDB (Bioinformatics) PlasmoDB, ToxoDB , etc. Participation, University of Georgia, U.S.A.

3. Protein Expression and Purification strategies International workshop

4. Molecular and Cellular Biology workshop

5. Bioinformatics: Liverpool School of Tropical Medicine, U.K.

6. Diagnostic technology of asthma and allergy (molecular biology, serology, and bacteriology) specific IgE Microassay techniques and chemical allergic protein analysis, occupational respiratory diseases characterization and prevention technology, at University of Turku and University of Helsinki, Finland.

7. Allergic and carcinogenic-causing risk assessment technology and blood-borne risk surveillance and preventive systems at National Institute of Occupational Safety and Health, Centers for Diseases Control and Prevention (CDC), U.S.A.

8. Molecular Biology technology for Blood and Tissue Analysis, at Menzies School of Health Research and Charles Darwin University, Darwin, North Territory, Australia.

ประสบการณ์วิชาชีพ

1. พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

ความเชี่ยวชาญ

1. การบริหารจัดการโครงการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อทางปรสิตวิทยาและกีฏวิทยา

2. การวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศเชิงพื้นที่ เพื่องานวิจัยระบาดวิทยาโรคติดเชื้อ (Spatial distributions using GIS for Epidemiology analysis)

3. การวิวัฒนาการของโรคทางลักษณะและพันธุกรรมโรคติดต่อนำโดยแมลง (Phenotypic and Genotypic Diversities of vector-borne infections)

ผลงานดุษฎีนิพนธ์